Samitivej Podcast ย่อ ย่อย ยั่วสุขภาพให้เติมเต็มชีวิต กับสองสาวพิธีกรและคุณหมอจากโรงพยาบาลสมิติเวช จัดเต็มเคล็ดลับ และทริคสุขภาพ ที่คุณไม่เคยฟังที่ไหน ฟังมันๆ มาฟังกันได้ที่ What the Health! ทุกพุธที่ 2 และ 4 ของเดือน
…
continue reading
เราจะมาไขข้อข้องใจกับการตรวจยีนสำหรับการมีลูกว่าควรตรวจอะไรบ้าง ควรตรวจในช่วงไหนของการตั้งครรภ์ และเราจะมีการวางแผนรับมืออย่างไรโดย รศ.ดร.นพ.บุญศรี จันทร์รัชชกูล แพทย์เวชศาสตร์มารดาและทารก โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท
…
continue reading
EP. นี้เราจะมาไขข้อข้องใจว่าทำไมผู้สูงอายุต้องฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ แล้ววัคซีนไข้หวัดใหญ่สูตรเฉพาะ หรือที่เรียกว่า High Dose มันดีกว่าแบบปกติอย่างไร กับคุณหมอท๊อป พญ.ทิปภา ชุติกาญจน์โกศล อายุรแพทย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ประจำศูนย์ชีวายั่งยืน คุณหมอกล่าวว่า แบบ High Dose มีการเพิ่มของสารประกอบของเชื้อมากกว่าวัคซีนแบบ 4 สายพันธุ์ทั่วไปถึง 4 เท่า มีประโยช…
…
continue reading
EP นี้ คุณหมอ ท้อป พญ.ทิปภา ชุติกาญจน์โกศล อายุรศาสตร์ เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ประจำศูนย์ชีวายั่งยืน จะมาให้ความรู้เกี่ยวกับโรคภัยซ่อนเร้น ของผู้สูงอายุที่ต้องระวัง มีสัญญานเตือนอะไรบ้างที่ควรรู้ เราจะสังเกตความเปลี่ยนแปลงของท่านได้อย่างไร โรคภัยใดที่ควรต้องระวังเป็นพิเศษ เพื่อสุขภาพกายและใจที่ดีขึ้นของคนในครอบครัวที่เรารัก #เราไม่อยากให้ใครป่วย…
…
continue reading
EP นี้ คุณหมอ มิกกี้ พญ.วิรัลพัชร อัครชลานนท์ กุมารแพทย์โรคสมองและระบบประสาท รพ.เด็กสมิติเวช จะมาให้ความรู้เกี่ยวกับโรคลมชัก โรคลมชักคืออะไร? การชักมีกี่ประเภท และโรคลมชักสามารถรักษาให้หายขาดได้จริงหรือ? แล้วถ้าเกิดลูกหลานของเราเป็นโรคลมชัก เราจะต้องทำอย่างไรในสถานการณ์นั้น มีวิธีการสังเกตหรือป้องกันอย่างไร มาติดตามกันใน EP นี้ #เราไม่อยากให้ใครป่ว…
…
continue reading
ใครอยากมี Six Pack แต่ไม่มาสักที ทั้ง sit up ควบคุมอาหาร กินโปรตีนเยอะก็แล้ว …. มาฟังกันเลย วันนี้มีทางลัดมาบอก …. เราสามารถสร้าง Six Pack ได้ด้วยมือแพทย์ ด้วยเทคนิคการผ่าตัดดูดไขมันนั่นเอง ได้ทั้งหญิงและชายเลย คุณหมอจะมีการพูดคุยในสิ่งที่เราอยากจะได้ตรงตามความต้องการ แนะนำการเตรียมตัวต่างๆ อาทิ ควรมีน้ำหนักคงที่อย่างน้อย 6 เดือน – 1 ปี แล้วมาตรวจร…
…
continue reading
ขาว เด้ง ไม่ปวดข้อ.... อะไรคือข้อเท็จจริงจากการกินคอลลาเจนเสริม EP นี้ พญ. มล. ธัญญ์นภัส เทวกุล คอนเฟิร์มว่าคอลลาเจนดีกับผิวจริงในแง่เพิ่มความชุ่มชื้นและความยืดหยุ่นให้กับผิว แต่ไม่ได้ช่วยให้ผิวขาวดังเช่นที่เห็นในโฆษณาในหลายสื่อ คอลลาเจนในร่างกายมีอยู่หลายชนิด คอลลาเจน Type I พบได้ทั้งในผิวและกระดูก ส่วน Type II พบในกระดูกอ่อนและข้อต่อ ดังนั้นจะเลื…
…
continue reading
ใครมีปัญหานอนไม่หลับแล้วไปชงอะไรอุ่นๆ ดื่ม โดยหวังว่าจะช่วยกล่อมให้นอนหลับได้ดีขึ้นต้องเปลี่ยนวิธี! เพราะ นพ.ดร. วิทูร จุลรัตนาภรณ์ อายุรแพทย์โรคหัวใจและแพทย์เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ แห่งโรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ เฉลยให้ฟังว่าจะนอนได้ดีอุณหภูมิร่างกายต้องไม่สูงเกินไป อุณหภูมิในห้องเย็นพอเหมาะ ระหว่างวันควรอยู่ในที่สว่าง ส่วนก่อนนอนควรอยู…
…
continue reading
น้องสาวของเราแต่ละคนมีรูปร่างและผิวพรรณที่แตกต่างกัน ไม่ต่างจากหน้าตาที่เห็นภายนอก เพียงแต่น้องสาวถือเป็นบริเวณลับเฉพาะที่เซนซิทีฟเป็นพิเศษ ไม่ว่าคุณจะอยากให้น้องสาวคิวท์ขึ้นอีกนิดโดยไม่ได้มีปัญหาทางกายภาพ หรือน้องมีรูปร่างที่ทำให้นั่งก็เจ็บ ใส่เสื้อผ้าก็เสียดสี ปัสสาวะเล็ด หรือไม่เอื้อต่อกิจกรรมบนเตียง บอกเลยว่าคุณหมอช่วยได้ ด้วยเทคโนโลยีเลเซอร์แล…
…
continue reading
ประจำเดือนเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับผู้หญิงทุกคนตั้งแต่เริ่มเข้าสู่วัยสาว สาวน้อยแรกมีประจำเดือนใน 1-2 ปีแรกอาจจะยังมีประจำเดือนไม่สม่ำเสมอ แต่เมื่อการตกไข่เป็นไปอย่างสมบูรณ์แล้ว ประจำเดือนที่มีลักษณะปกติคือ มีประจำเดือนครั้งละไม่เกิน 7 วัน อาจมีอาการปวดท้องประจำเดือนในวันแรก รอบเดือนสม่ำเสมอ รอบละ 28-35 วัน สีของประจำเดือนในวันแรกและก่อนหมดในแต่ละรอบอา…
…
continue reading
EP นี้คุณหมอแม็กซ์ นพ. วิรัช ตวงจารุวินัย แพทย์ผิวหนัง รพ. สมิติเวช สุขุมวิท มายืนยันชัดๆ ว่าเป็นโควิดทำให้ผมร่วงได้จริง แต่โควิดไม่ใช่โรคเดียวที่มีผลทำให้ผมร่วง เพราะโรคและสภาวะอื่นๆ ที่กระทบต่อสุขภาพร่างกายและใจ เช่น ไทรอยด์ ไข้เลือดออก หลังคลอด เจ็บป่วยจนต้องนอนโรงพยาบาล ผ่าตัด หรือแม้กระทั่งความเครียดก็มีผลทำให้ผมร่วงได้เช่นกัน ภาวะผมร่วงเป็นไม…
…
continue reading
ยาคุมกำเนิดชนิดรับประทานนอกจากจะมีหลายยี่ห้อแล้ว ถ้าพิจารณาจากชนิดและปริมาณฮอร์โมนจะพบว่าแบ่งเป็นหลายแบบ ทำให้การใช้ยาคุมกำเนิดต้องเลือกให้ถูกต้องเหมาะกับวัยและร่างกายของผู้ใช้ รับประทานให้ตรงเวลา สม่ำเสมอทุกวัน ถ้าเป็นแผง 21 เม็ด รับประทานต่อเนื่องกันจนหมดแล้วเว้น 7 วันก่อนเริ่มแผงใหม่ ส่วนแบบ 28 เม็ด ประกอบไปด้วยตัวยา 21 เม็ด และเม็ดแป้ง 7 เม็ด ใ…
…
continue reading
การหาวมักมีที่มาจากการอดนอน นอนน้อย นอนไม่ได้คุณภาพ เหนื่อย เครียด อ่อนเพลีย ซึ่งการหาวเป็นกลไกอัตโนมัติที่บังคับไม่ได้ เกิดจากการหายใจเอาอากาศเข้าปอดทั้งทางปากและจมูกพร้อมๆ กัน การหาวเป็นครั้งคราวไม่ใช่เรื่องน่ากังวล แต่หากหาวบ่อย หาวไม่หยุด มากกว่า 1 ครั้งต่อ 1 นาที อาจเป็นสัญญาณเตือนของโรค เช่น โรคลมหลับ ซึ่งเป็นการหลับแบบฉับพลันที่ต้องพบแพทย์โด…
…
continue reading
เส้นเลือดขอดเป็นปัญหาของหลอดเลือดที่มักพบที่ขา มีสาเหตุจากการอยู่ในท่าเดียวไม่ว่าจะนั่ง ยืน หรือใส่ส้นสูงนานๆ โดยมีปัจจัยด้ายพันธุกรรม อายุ น้ำหนักตัว ฮอร์โมนมาเกี่ยวข้องด้วย ดังนั้นจะพบว่าผู้หญิงมักมีปัญหาเส้นเลือดขอดมากกว่าผู้ชาย เส้นเลือดขอดเกิดจากประตูปิดเปิดในหลอดเลือดเสื่อม ทำให้เลือดในหลอดเลือดดำไม่สามารถไหลกลับไปที่หัวใจได้อย่างสมบูรณ์ เกิด…
…
continue reading
อาการแพ้เหงื่อตัวเอง เหงื่อออกทีไรก็คันไปหมด ไม่ถือว่าเป็นโรค แต่แสดงว่าผิวอาจมีการอักเสบ เกราะป้องกันผิวไม่แข็งแรง เมื่อเหงื่อออกจึงทำให้เกิดเกิดการระคายเคืองขึ้นได้ ทั้งนี้ใครมีอาการดังกล่าวควรพบให้แพทย์เพื่อให้แน่ใจว่าอาการที่เกิดเป็นเพราะเหงื่อ หรือเป็นโรคที่มีมีอาการคล้ายกัน เช่น ผดร้อนในเด็กและโรคเกลื้อน การดูแลตัวเองในช่วงที่เหงื่อออกแล้วมีอ…
…
continue reading
นอนยังไงก็ไม่อิ่มสักที เป็นปัญหาใหญ่ของบางคน การนอนที่ดีควรจะนอนตรงตามเวลานาฬิกาชีวิต นั่นคือเข้านอนประมาณ 4 ทุ่ม และนอนให้ครบ 7-8 ชั่วโมงต่อวัน เพราะ growth hormone ที่ทำหน้าที่ซ่อมแซมร่างกาย คงความอ่อนเยาว์และแข็งแรงจะหลั่งในช่วง 4 ทุ่มถึงตี 2 หากคุณพลาดไม่ได้หลับอยู่ในช่วงนั้น growth hormone ก็จะไม่หลั่ง ส่งผลให้ร่างกายอ่อนเพลีย สมองไม่แล่น ฮอร์…
…
continue reading
หลายคนเข้าใจผิดว่าโควิดเป็นแล้วจะมีภูมิคุ้มกันไปตลอด แต่ที่จริงภูมิที่ได้จากการติดเชื้อจะมีอยู่เพียง 1-3 เดือนเท่านั้น ดังนั้นการจะลดการ์ดแล้วปล่อยให้ติด เพราะเห็นว่าโอไมครอนเป็นสายพันธุ์ที่ไม่รุนแรงไม่ใช่ความคิดที่ดีนัก ด้วยเหตุผลที่เริ่มเป็นที่รู้กันแล้วว่าหลังจากหายจากอาการติดเชื้อ ก็ยังเสี่ยงต่อการเป็น Long COVID ได้ด้วย อาการที่พบบ่อยของ Long …
…
continue reading
SebDerm จัดเป็นโรคผิวหนังที่กวนใจคนวัยทำงาน มักเกิดในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง เป็น ๆ หาย ๆ โดยเฉพาะช่วงที่มีความเครียดหรือพักผ่อนน้อย SebDerm ไม่มีความสัมพันธ์กับอากาศเป็นได้ทุกฤดูกาล อาการแสดงถ้าเป็นที่หน้า บริเวณที่มักมีผื่นคือ ข้างจมูก เหนือคิ้ว คาง หรือบางคนลามลงมาจนถึงหน้าอก รอยผื่นมีสีแดงเป็นขุย คัน และลอกเป็นแผ่นสีเหลืองมัน ๆ ส่วนถ้าเป็นที่หนังศ…
…
continue reading
ยุคนี้การทำศัลยกรรมไม่ใช่เรื่องแปลก อยากสวยหรืออยากหล่อ หมอช่วยได้ นพ. วีรวัฒน์ ติรนันท์มงคล ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมตกแต่ง โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ แนะนำว่าใครอยากทำศัลยกรรมต้องหาข้อมูลให้ดี หาต้นแบบของความสวยให้พร้อม เมื่อมั่นใจแล้วควรนัดไปปรึกษาแพทย์ เพื่อให้แพทย์ประเมินความเป็นไปได้ที่จะทำให้เหมือนต้นแบบ ทำความเข้าใจให้ตรงกันว่าผล…
…
continue reading
พญ. พัฒศรี เชื้อพูล แพทย์เวชศาสตร์ชะลอวัยและการฟื้นฟูสุขภาพร่วมไขข้อข้องใจกับปัญหาทางอารมณ์ที่เกิดจากฮอร์โมน เพราะในวัยที่ฮอร์โมนเปลี่ยนแปลงไม่เฉพาะร่างกายเท่านั้นที่เปลี่ยนไป แต่จิตใจก็ได้รับผลกระทบด้วยเช่นกัน นอกจากอารมณ์เหวี่ยงวีน หงุดหงิด ขี้น้อยใจแล้วความไม่สมดุลของฮอร์โมนเพศหญิงส่งผลอย่างไรได้อีก อาการที่ว่าเริ่มต้นเมื่ออายุเท่าไหร่ ผู้ชายมีอ…
…
continue reading
ย่างเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ปัญหาสิวหมดไป แต่กระกับฝ้ากลับเริ่มมาเยือน ถึงจะเป็นเรื่องของสีผิวที่เข้มกว่าผิวโดยรอบเหมือนกัน แต่กระและฝ้ามีลักษณะแตกต่างกัน วิธีดูแลก็ไม่เหมือนกัน ปัจจัยที่ทำให้เกิดกระและฝ้ามีทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกซึ่งหลีกเลี่ยงได้ จะเลี่ยงอย่างไร เป็นแล้วต้องทำยังไง ไปฟังคำตอบจากแพทย์ผิวหนัง พญ. พีรธิดา รัตตกุล #กระ #ฝ้า #จุดด่างดำ…
…
continue reading
ทารกเกิดมาเป็นดาวน์ซินโดรมเพราะแม่อายุมากจริงหรือไม่? เทคโนโลยีการแพทย์ในปัจจุบันช่วยให้ตรวจคัดกรองโรคทางพันธุกรรมบางชนิดได้ด้วยการตรวจพ่อแม่ตั้งแต่ก่อนลูกจะปฏิสนธิและในขณะที่เด็กอยู่ในครรภ์ โดยมีข้อแม้ว่าต้องได้รับการตรวจในอายุครรภ์ที่เหมาะสม การฝากครรภ์ตั้งแต่แรกรู้ว่าตั้งท้องจึงเป็นเรื่องสำคัญ ตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมมีวิธีไหนบ้าง ลูกต้องเสี่ยงไห…
…
continue reading
กลิ่นตัวเป็นปัญหาสุขภาพกายที่ส่งผลต่อความมั่นใจในตัวเองและสุขภาพจิตได้ กลิ่นตัวไม่ได้เกิดจากเหงื่อ แต่เกิดจากแบคทีเรียที่ทำปฏิกิริยากับเหงื่อ หรือเกิดจาก “ต่อมเหม็น” บริเวณรักแร้ หน้าอก และอวัยวะเพศที่พัฒนาขึ้นในช่วงวัยรุ่น นอกจากนั้นกลิ่นตัวยังเกิดได้จากสาเหตุอื่น เช่น เสื้อผ้าที่ระบายอากาศไม่ดี แผลอักเสบของผิวหนัง โรคภายในที่ส่งผลให้ลมหายใจมีกลิ่…
…
continue reading
เมื่อ LGBTQ ไม่ใช่โรคแต่เป็นความชอบและลักษณะส่วนบุคคลที่มีความหลากหลายไม่แตกต่างกับรูปร่างหรือสีผิว What the Health เม้าท์สุขภาพกับหมอชวน นต. พญ. ณัฐยา รัชตะวรรณ สูตินารีแพทย์ แห่งโรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ มาคุยถึงนิยามของ LGBTQ ความสำคัญของความเข้าใจและกำลังใจจากคนรอบข้าง รวมถึงการเปิดโอกาสทางสังคมเพื่อความเท่าเทียมกันของทุกเพศในสถาบันซึ่งเป็น…
…
continue reading
ในยุคที่เราขยัน “มโน” มีทริปทิพย์ สามีทิพย์ บ้านทิพย์ และอีกสารพัดตามใจปรารถนา จนไม่แน่ใจว่าการมโนเช่นนี้เป็นการหลอกตัวเองหรือไม่ หรือแบบไหนที่เกินพอดี EP นี้ หมอดิว นพ. ธนานันต์ นุ่มแสง จิตแพทย์แห่งโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ชวนคุยถึงดีกรีความแตกต่างระหว่างการมโน การโกหก และการหลอกตัวเอง แบบไหนทำได้ไม่ต้องกังวล แบบไหนเข้าข่ายกลุ่มอาการของโรคบุคลิก…
…
continue reading
เมื่อลูกเติบโตเข้าสู่วัยรุ่น วัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและจิตใจ การสื่อสารต้องเปลี่ยนรูปแบบให้โดนใจลูก ด้วยการพูดเฉพาะใจความสำคัญที่พ่อแม่ต้องการบอก ไม่เยิ่นเย้อยืดยาว ไม่ตำหนิติเตียน ตัดสิน ใช้อารมณ์ หรือละเมิดความเป็นส่วนตัวของลูก เรื่องไหนควรถาม - เรื่องไหนไม่ควร - เรื่องเพศสอนยังไง พูดได้แค่ไหน EP นี้ พญ. ศิราดา จิตติวรรณ จิตแพทย์เด็กและ…
…
continue reading
ใกล้สิ้นปีเต็มที คุณพร้อมหรือยังกับปาร์ตี้คริสต์มาส-ปีใหม่ จะ drink drank drunk ให้ปังแบบ healthy ต้องสนุกอย่างมีสติ เลิกเข้าใจผิดว่าควรอดอาหารก่อนร่วมงาน เพราะอาหารจะช่วยรองท้องให้ไม่เมาง่าย ไม่หิวโหยจนหลุดเผลอรับประทานเกินลิมิตยามแอลกอฮอล์เข้าปาก วิตามินและเกลือแร่บางชนิด เช่น วิตามินบีรวม วิตามินซี แมกนีเซียม สังกะสี มีรายงานว่าช่วยลดผลแย่ ๆ จาก…
…
continue reading
ไฟรักจะยั่งยืนหรือพังครืนอยู่ที่ความเข้าใจ เรื่องบนเตียงเป็นเรื่องของคนสองคน ที่ไม่ว่าคุณจะเป็นเพศใดก็สะกิดนำบอกความต้องการของคุณให้คู่ของคุณรับรู้ได้ ปรับลีลากันไป เปลี่ยนบรรยากาศกันบ้าง เพราะเมื่ออยู่เป็นคู่ยังไงเซ็กส์ก็เป็นเรื่องสำคัญ หมั่นเติมรสรักให้กันทั้งบนเตียงและดูแลกันในชีวิตประจำวัน แต่ถ้าเมื่อใดใจพร้อมแต่กายไม่พร้อม อย่าลืมว่ายังมีแพทย์…
…
continue reading
ใส่หน้ากากอนามัยกันทุกวันแบบนี้ ถอดออกมาลมหายใจยังหอมสดชื่นกันหรือเปล่า กลิ่นปากไม่ใช่เพียงต้นเหตุของบุคลิกภาพที่ไม่น่าปลื้ม แต่ยังบ่งถึงความเจ็บป่วยของร่างกายและปัญหาในช่องปากได้อีกด้วย การทดสอบกลิ่นปากทำได้อย่างแม่นยำด้วยตัวเองด้วยการป้องปากแล้วพ่นลมหายใจออกมาแรงๆ การใช้น้ำยาบ้วนปาก จริงอยู่ที่สเปรย์ หรือลูกอมดับกลิ่นสามารถช่วยลดกลิ่นปากได้บ้าง แ…
…
continue reading
ไมเกรนเกิดจากปัจจัยภายนอก เช่น เสียงดังเกินไป แสงจ้าเกินไป หรืออาหารบางชนิดมากระตุ้นให้เกิดความปลี่ยนแปลงของสารเคมีในสมอง อาการปวดหัว ไม่จำเป็นต้องเป็นไมเกรนทุกครั้ง มีการปวดที่เรียกว่า tension headache เกิดได้ถึง 80%-90% ทุกเพศทุกวัย ส่วนใหญ่โดนแดดแรง เครียด นอนดึก เล่นโทรศัพท์เยอะ เป็นปัจจัยกระตุ้นที่ทำให้เกิดการหดตัวกล้ามเนื้อบริเวณหน้าผาก ทำให้…
…
continue reading
โรคกินไม่หยุดเกิดขึ้นได้ ลองสังเกตได้จะมีอาการ หยุดกินไม่ได้ กินตอนไม่หิว กินรู้สึกแย่หรือผิด กินแล้วไม่ Happy ทั้งหมดนี้จะเกิดในระยะเวลา 2 ชม. อาการจะต้องเกิดทุกอาทิตย์ ติดต่อเป็นระยะเวลา 3 เดือน ให้มาพบคุณหมอได้เลย ถ้าระหว่างกินแล้วสำราญ แล้วรู้สึกผิดที่หลัง ยังไม่ถือเป็นโรคนะคะ โรคนี้เกิดจากอะไรได้บ้าง ? อาจจะยีน พันธุกรรม มีความยึดติด หรือสารบา…
…
continue reading
คนที่เป็น Burn out ส่วนใหญ่เกิดกับคนที่มีความตั้งใจในการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แล้วไม่ได้ดั่งใจ ทำให้เกิดอาการเหนื่อยล้าได้ แต่ถ้าเราได้ทำอะไรที่แตกต่างจากเดิม เช่น ถ้าได้หยุดงาน หรืออยู่บ้านก็จะมีความสุข ถ้าเป็นระยะยาวจะนำพาไปสู่โรคซึมเศร้าได้ ภาวะโรคซึมเศร้าจะมีความรู้สึกหดหู่ (Depress) สิ่งที่สนใจลดลง (Loss of Interest) แต่จะเป็นติดต่อกัน 2 สัปดาห์ขึ…
…
continue reading
ความเชื่อที่ว่า กินเจ จะได้ไม่ติดโควิด นั้นแท้จริงแล้วไม่เป็นความจริงค่ะ ยังไม่มีงานวิจัย ขอให้กินครบหมู่ และกินอย่างสมดุล โปรตีน 1 อุ้งมือ แป้ง 1 อุ้งมือ ไขมัน 1 หัวแม่โป้ง ผัก 1 กำ ผลไม้ 3-5 Serving เช่น แอปเปิ้ลวันละ 3 ลูก คุณหมอยังแนะนำวิตามิน C วันละ 1000 มิลลิกรัม หรือทานจากอาหาร เช่น ผลไม่ตระกูลเบอรี่ ผักชี พริกหยวก ผักขม วิตามิน D เพื่อเพิ่…
…
continue reading
หลังจากเราตรวจ ATK และไป confirm ด้วย RT-PCR แล้ว เราต้องกักตัว คุณหมอแนะนำก่อนอื่นต้องมีสติ พร้อม 7 สิ่งที่ต้องเตรียม คือ 1. สถานที่กักตัว แยกสัดส่วนชัดเจน 2. ยาประจำตัว ฟ้าทะลายโจร ยาแก้ไอ ลดน้ำมูก 3. อุปกรณ์ตรวจร่างกาย ปรอทวัดไข้ ที่วัดออกซิเจนปลายนิ้ว 4. อุปรณ์ในการดำรงชีวิตให้คลายเครียด 5. วิธีกำจัดขยะติดเชื้อ 6. เตรียมสุขภาพจิต 7. เตรียมร่างก…
…
continue reading
ความเครียดไม่ใช่โรค มันเป็นปฏิกิริยาของทางจิตใจ เมื่อมีเรื่องมากระทบต่อจิตใจ เป็น Normal Reaction ที่เกิดขึ้นได้ แต่ถ้าเราไม่สามารถกำจัดมันได้จะกลายเป็นปัญหาด้านจิตใจในระยะยาว จนกลายเป็นภาวะซึมเศร้าได้ เราสามารถจัดการกับมันได้ โดยใช้ฟิวเตอร์ที่มีอยู่ในร่างกาย คือ สติ เป็นตัวที่ทำให้อารมณ์ต่างๆของเราลดลง ทำความเข้าใจ หรือเลือกที่จะเสพสื่อต่างๆ สำหรั…
…
continue reading
EP นี้ ขอต้อนรับวันแม่ในช่วงโควิดแบบนี้ ในเรื่องการให้นมแม่ช่วงโควิด คุณแม่ไม่ต้องเครียดนะคะ คุณแม่ที่เป็นหรือไม่เป็นโควิด สามารถให้นมลูกได้ เพราะเชื้อโควิดไม่ผ่านทางน้ำนม แต่ให้เพิ่มความระมัดระวัง เช่น ใส่หน้ากากอนามัย ใส่เฟสชิลด์ก่อนให้นม เช็ดทำความสะอาดเต้านม ล้างมือให้สะอาด ส่วนเรื่องการรับวัคซีนโควิด แม่ท้อง 12 สัปดาห์ขึ้นไปก็ฉีดได้ และแม่ที่ค…
…
continue reading
อนุมูลอิสระไม่มีประโยชน์ !!!!!!! เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคต่างๆ เช่น หัวใจ เบาหวาน สมองเสื่อม มะเร็ง และความแก่ เกิดจากปัจจัยภายใน คือ ความเครียด เชื้อโรค ความเจ็บป่วย ภายนอก เช่น อาหาร แสงแดด โดยเฉพาะช่วงโควิด เราต้องกำจัดมันออกไป ….. เพราะฉะนั้นเราต้องการสารต้านอนุมูลอิสระมายับยั้ง หาได้จากการกินอาหารที่เหมาะสม สลับกันไป ผักสีเขียว เหลือง ม่วง แด…
…
continue reading
‘ผมร่วง ผมบาง’ เป็นปัญหาที่ไม่จำกัดเพศและวัย ไม่ใช่ปัญหาของคนสูงอายุเท่านั้นเพราะผมบางตามพันธุกรรมพบได้ตั้งแต่อายุยี่สิบต้นๆ ขณะที่การมีลูกแต่ละคนสามารถทำให้คุณแม่มีปริมาณผมบนศีรษะลดลงได้ถึง 5% ปัจจัยกระตุ้นที่ทำให้ผมร่วงมีหลากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็น โรคบางโรค ความเครียด ยาบางตัว การขาดสารอาหารต่างๆ หนังศีรษะอักเสบจากการสัมผัสกับสารเคมี หากคุณมีผมร…
…
continue reading
คุณอาจจะเคยได้ยินว่าถ้าใครเป็นโรคโควิด-19 แล้วปอดจะไม่สามารถกลับมาทำงานได้เหมือนเดิม หรือโรคนี้เป็นครั้งเดียวแล้วจะไม่เป็นอีกตลอดชีวิต แต่ที่ “เขาว่า” กันนั้นมันจริงหรือไม่ ใช่หรือเปล่า? นพ. พิศิษฐ์ ด่านไทยนำ อายุรแพทย์ด้านโรคระบบทางเดินหายใจละภาวะวิกฤติมีคำตอบมาให้ พร้อมเคล็ดลับบริหารปอดให้แข็งแรงที่คนสุขภาพดีก็ทำได้ คนเพิ่งหายป่วยจากโควิด-19 ก็คว…
…
continue reading
การฉีดวัคซีนโควิด-19 ซึ่งเป็นวาระแห่งชาติเริ่มต้นขึ้นแล้ว ประชาชนไทยทุกคนควรได้รับวัคซีนเพื่อลดโอกาสในการติด-ป่วยหนัก-ลดจำนวนวันในการอยู่ โรงพยาบาลและลดอัตราการเสียชีวิต แต่มีใครบ้าง เป็นโรคอะไรที่ยังไม่สามารถฉีดได้ ก่อนฉีดจำเป็นต้องตรวจสุขภาพหรือไม่ ความแตกต่างของวัคซีนสองยี่ห้อ ที่มีในเมืองไทยในปัจจุบัน อาการไม่พึงประสงค์ที่ควรเฝ้าระวัง ข้อควร-ไม…
…
continue reading
รักแร้-ขาหนีบดำเป็นปัญหาหนักอกน่ากลุ้มของหนุ่มสาวหลายคน แต่รอยดำที่เกิดขึ้น อาจมีได้หลายสาเหตุ เช่น รักแร้ดำจากการแพ้อลูมิเนียมคลอไรด์ ซึ่งสารสำคัญในผลิตภัณฑ์ลดเหงื่อลดกลิ่นตัว สีผิวเข้มจากกรรมพันธุ์ การรับประทานยาบางชนิด หรือเป็นโรคบางโรค เช่น โรคอ้วนและเบาหวานที่มีการดื้ออินซูลินร่วมด้วย การรักษารักแร้-ขาหนีบดำมีหลายวิธี ตั้งแต่การกำจัดสาเหตุของร…
…
continue reading
กระแสเรื่องวิตามินกับโควิดกำลังเป็นที่ถกเถียงกันในโลก Social วิตามินตัวนี้กันโควิดได้ กินแล้วรักษาโควิดได้ EP นี้คุณหมอหนุ่ม นพ. ไพศิษฐ์ ตระกูลก้องสมุท แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ รพ.สมิติเวช สุขุมวิท ไขข้อข้องใจกันชัดๆ • วิตามินและสมุนไพรที่เขาว่ากันว่ากินเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ จริงหรือ • วิตามินบางชนิด เช่น วิตามินดี วิ…
…
continue reading
อยากผิวสวย หน้าใส โดยไม่ต้องใช้ app เป็นจริงได้ด้วยการดูแลผิวอย่างถูกต้อง เริ่มจากการทาครีมกันแดดในปริมาณที่เพียงพอ ครีมกันแดดควรมีค่าทั้ง SPF ที่แสดงถึงการป้องกันได้ทั้งรังสียูวีบีที่เป็นสาเหตุของผิวคล้ำ/ผิวไหม้ และมีค่า PA ที่แสดงถึงการป้องกันรังสียูวีเอที่ทำให้เกิดริ้วรอยก่อนวัย ถึงแม้กระและฝ้าจะเกิดจากเม็ดสีผิวเหมือนกันแต่ฝ้ามีลักษณะเป็นปื้นสีค…
…
continue reading
โควิดระลอกนี้มีความรุนแรงมากกว่าสองครั้งที่ผ่านมา กำลังโจมตีประเทศของเราอยู่ รัฐก็กำลังเดินหน้าฉีดวัคซีนโควิดให้กับประชาชนอย่างต่อเนื่อง แต่ใครที่ลังเลว่าควรฉีดวัคซีนป้องกันโควิดดีหรือไม่ จะทำให้แพ้หรือเปล่า พญ.สมรรจน์ ลิ้มมหาคุณ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านโรคติดเชื้อ รพ. สมิติเวช สุขุมวิท แนะนำว่าหากถึงคิวที่จะได้ฉีด ทุกคนควรรับวัคซีนโดยไม่ต้องลังเล เนื่…
…
continue reading
กระแสการออกกำลังกายด้วย surf skate กำลังมาแรง เราจึงชวนคุณหมอเฉพาะทางมาคุยกันว่าเล่น surf skate อย่างไรให้เก๋ เท่ และปลอดภัย เริ่มด้วยอุปกรณ์ต้องพร้อมทั้งตัว surf skate ที่เหมาะกับรูปร่างและน้ำหนักของผู้เล่น อุปกรณ์ด้านเซฟตี้ก็ต้องมี จัดไปทั้งหมวกกันน็อค สนับเข่า สนับศอก รวมทั้งรองเท้าที่ควรเป็นรองเท้าผ้าใบพื้นแบนที่ยึดเกาะได้ดี มีการวอร์มอัพก่อนแล…
…
continue reading
การนอนที่ดีไม่ใช่นอนให้ครบ 6-8 ชั่วโมง เพราะร่างกายแต่ละคนไม่เหมือนกัน คนบางกลุ่มนอนไม่กี่ชั่วโมงก็เพียงพอ ขณะที่บางคนต้องการชั่วโมงพักผ่อนบนเตียงถึงหนึ่งในสามของเวลาแต่ละวัน นอกจากนั้นมนุษย์เรายังแบ่งเป็น early bird กับ night owl ซึ่งคุณหมอคอนเฟิร์มว่าไม่ได้เกิดจากนิสัย แต่เป็นเรื่องของร่างกาย สาเหตุของการนอนกรน หยุดหายใจหรือสำลักขณะหลับคืออะไร จำ…
…
continue reading
เมื่อร่างกายต้องการสารอาหาร แต่วิถีการบริโภคของคนเราในปัจจุบันนอกจากสารอาหารแล้วเรามักจะได้โปรตีน ไขมัน น้ำตาล และแป้งเกินจากความต้องการของร่างกาย จนไปสะสมเป็นไขมันทั้งในและนอกเส้นเลือด นอกจากจะเลือกรับประทานให้เหมาะสมแล้ว มาฟังกันว่าเคล็ดลับในการออกกำลังกายแบบไหนที่เวิร์คจริง ในการป้องกันร่างกายจากโรคไม่ติดต่อยอดฮิตอย่างเบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือ…
…
continue reading
อย่าให้กางเกงยางยืดเป็นอุปสรรคของการคงหุ่นสวยในช่วงโควิด ช่วงที่อยู่บ้านเยอะ นั่งแยะ และขยับร่างน้อยกว่าปกติ คุณหมอฝน พญ. จิตแข เทพชาตรี แพทย์เวชศาสตร์ชะลอวัยและแพทย์ผิวหนัง เม้าท์มันๆ ว่าลดแบบไหนดี แบบไหนง่ายมาก แบบไหนลำบาก จะ IF (intermittent fasting), Ketogenic, LCHF (low carb high fat), Vegan, Plant-based diet หรือยาฉีดลดน้ำหนัก EP นี้ ฟังได้คร…
…
continue reading
รักที่ซาบซ่าน รักที่ถึงฝั่งฝันย่อมเป็นเป้าหมายในกิจกรรมรักของทุกคู่ แต่หากวันหนึ่งลมเพลมพัด ฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง ความเครียดโหมกระหน่ำ สภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไป หรือแม้แต่โควิดสุดเฮี้ยว ทำให้อะไรๆ ที่เคยเสียวกลับเสื่อมลง มาฟังแพทย์เฉพาะทางแนะนำว่าอะไรที่จะทำให้กลับมาปั๋งกลับมาปังได้ อย่ารอให้ถึงวันเหี่ยว อย่าทนถ้าไม่เสียว แวะฟังตรงนี้เดี๋ยวเดียวแล้ว…
…
continue reading
ในยุคที่ไวรัสตัวน้อยล้อมเราไว้ทุกทิศ การกินวิตามิน เกลือแร่ หรือสารสกัดจากธรรมชาติช่วยป้องกันโรคโควิด-19 ได้จริงหรือ บรรดาอาหารเสริมที่มีอยู่มากมาย ไม่ว่าจะขายออนไลน์หรือขายตามร้าน ตัวไหนกินแล้วปัง ตัวไหนกินแล้วพัง อยากกินให้เป๊ะ กินให้เหมาะกับตัวเองที่สุด ส่วนอยากรู้กันให้จังๆ ต้องเจาะเลือดพิสูจน์ว่าสารในร่างกายตัวไหนขาด ตัวไหนเกิน เพราะร่างกายแต่…
…
continue reading
เหมาะกับครอบครัวที่มีลูกวัย: 2-7 ปี คุณพ่อโอ๊ต วรวุฒิ นิยมทรัพย์ และคุณแม่จีน่า อันนา ชวนคุย ชวนถามเรื่องพฤติกรรมของลูกเล็กๆ วัยก่อนเข้าโรงเรียน ทำอย่างไรลูกจึงจะให้ความร่วมมือในการทำกิจวัตรประจำวัน การสอนให้เด็กรู้เท่าทันอารมณ์และหัดควบคุมอารมณ์ของตัวเอง พร้อมคำแนะนำจากกุมารแพทย์ด้านพัฒนาการและพฤติกรรม ในการใช้เทคนิคเลี้ยงลูกเชิงบวก…
…
continue reading